ข่าวประชาสัมพันธ์
ปีก่อนหน้า | ปีปัจจุบัน |
โควิดมาใหม่ ธุรกิจจะไปทางไหน
ผลพวงจากสถานการณ์โควิดในประเทศไทย ที่กลับมาระบาดระลอกใหม่.. ยิ่งเป็นตัวเร่งเร้าให้ภาคธุรกิจ ต้องหันมาใช้เครื่องมือดิจิทัล เป็นช่องทางในการติดต่อ ทำธุรกรรม นำเสนอสินค้าและบริการ มากยิ่งขึ้นไปอีก.. (อ่านต่อ)
ในรอบปี 2563 เครือข่ายรอยเท้านิเวศโลก (Global Footprint Network) ได้บันทึกให้วันที่ 22 สิงหาคม 2563 เป็นวันที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินขีดจำกัดที่โลกสามารถฟื้นฟูหรือสร้างขึ้นใหม่ (Regenerate) หรือที่เรียกว่า วันเกินกำลังโลก (Earth Overshoot Day: EOD) ในมุมมองทางเศรษฐกิจ ถือว่า วันถัดจาก EOD สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ใช้สอยจะมีมูลค่าติดลบหรือขาดดุลไปจนสิ้นสุดปี
ในปี 2564 หากประชากรโลกใช้ชีวิตในแบบที่ไทยเป็นอยู่ วันเกินกำลังโลก จะขยับขึ้นมาเป็นวันที่ 15 สิงหาคม 2564 หมายความว่า คนไทยมีการใช้ทรัพยากรเกินกำลังที่โลกจะรองรับได้ ในอัตราเร่งที่สูงกว่าประชากรโลก
ภาคธุรกิจที่ประกาศว่า จะดำเนินธุรกิจโดยนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาใช้ หรือการลดขยะและของเสียให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) เพื่อให้ได้ชื่อว่าเป็นองค์กรคาร์บอนต่ำ หรือมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutral) นั้น ไม่เพียงพออีกต่อไป.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงานแถลง “ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” และการเสวนาเรื่อง Post-COVID Strategies: From ‘Recovery’ to ‘Resilience’ ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สี่แยกปทุมวัน ถนนพระราม 1 (รายละเอียด)
• กำหนดการ
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เอกสารในช่วงการนำเสนอทิศทาง CSR ปี 2564
• เอกสารในช่วงเสวนา กลยุทธ์หลังโควิด: จาก ‘ฟื้นฟู’ สู่ ‘พร้อมผัน’
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
สถาบันไทยพัฒน์ ทำการประมวลทิศทางความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาความยั่งยืนของกิจการ ประจำปี 2564 ภายใต้รายงานที่มีชื่อว่า “6 ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” ความหนา 34 หน้า สำหรับหน่วยงานและองค์กรธุรกิจในการใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแนวทางการดำเนินงานในปี 2564 และใช้วางกลยุทธ์การปรับตัวสู่ภาวะปกติใหม่ (New Normal) หลังผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำหนังสือบทบาทของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 “Business Recovery Playbook on COVID-19” ความหนา 134 หน้าโดยรวบรวมกรณีตัวอย่างจากการดำเนินงานของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 35 แห่ง ประมวลเป็นรูปแบบกิจกรรมใน 3 ด้าน สำหรับใช้เป็นแนวปฏิบัติสำหรับองค์กรในช่วงการฟื้นตัว (Recovery) จากสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้น ช่วงต้นปี 2563 ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจ ผลกระทบของสถานการณ์โควิด มิได้ส่งผลเพียงเรื่องสุขภาพของผู้คนในสังคม แต่ยังได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังภาคเศรษฐกิจ ที่เป็นเรื่องปากท้อง กระทบวิถีทำมาหากินของผู้ประกอบการ ตั้งแต่รายใหญ่จนถึงรายย่อย ทั่วทุกหัวระแหง การระบาดระลอกใหม่ ที่กลับมาในช่วงท้ายปี 2563 ทอดยาวข้ามเข้าสู่ปี 2564 กลายเป็นสถานการณ์ที่ขวางกั้นการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กำลังจะเริ่มคลี่คลาย.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะหน่วยงานที่มุ่งเน้นงานส่งเสริมความยั่งยืนของกิจการ และขับเคลื่อนเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการร่วมกับภาคเอกชนมาอย่างต่อเนื่อง ได้ทำการประมวลและจัดทำรายงานสถานภาพความยั่งยืนของกิจการ ปี 2563 หรือ “The State of Corporate Sustainability in 2020” จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลความยั่งยืนที่เปิดเผยโดยองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน จำนวน 115 แห่ง (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำเอกสาร Investor Response Guidance on COVID-19 เผยแพร่ 7 แนวทางที่ผู้ลงทุนควรลงมือดำเนินการโดยทันที เพื่อดูแลจัดการประเด็น ESG ในระยะสั้น และปรับวางแนวการฟื้นตัวที่ให้ผลลัพธ์ทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืนในระยะยาว.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทุกทวีปทั่วโลก มีรายงานการพบผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ และการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ป่วยรวมถึงผู้เสียชีวิต ซึ่งบ่งชี้ถึงการแพร่กระจายของเชื้อในวงกว้าง.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
การแพร่ระบาดของไวรัส “โควิด-19” เป็นอีกบทพิสูจน์ความสามารถในการบริหารจัดการขององค์กร ว่าจะนำพาผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อยู่รอดปลอดภัย และรักษาการเติบโตไว้ได้อย่างไร.. (อ่านต่อ)
• ‘ESG’ ในภาวะวิกฤต ‘โควิด-19’
• "COVID-19" กับปรากฏการณ์ 'ESG'
สถาบันไทยพัฒน์ ได้รับการรับรองจากองค์การแห่งความริเริ่มว่าด้วยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) ให้เป็น GRI Certified Training Partner นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 และเข้าเป็น GRI Data Partner ในปี พ.ศ.2559
สถาบันไทยพัฒน์ ได้เปิดช่องทางการติดต่อสื่อสารผ่าน LINE@ สำหรับผู้ที่สนใจสอบถามข้อมูล หรือต้องการรับข่าวสาร และติดตามความเคลื่อนไหวในงานด้านต่างๆ อาทิ หลักสูตรด้านความยั่งยืน บริการใน Sustainability Store งานบริการให้ความเชื่อมั่น (Assurance Service) ต่อรายงานแห่งความยั่งยืน ตามมาตรฐานสากล ฯลฯ
ผลพวงจากสถานการณ์โควิดในประเทศไทย ที่กลับมาระบาดระลอกใหม่.. ยิ่งเป็นตัวเร่งเร้าให้ภาคธุรกิจ ต้องหันมาใช้เครื่องมือดิจิทัล เป็นช่องทางในการติดต่อ ทำธุรกรรม นำเสนอสินค้าและบริการ มากยิ่งขึ้นไปอีก.. (อ่านต่อ)
ในรอบปี 2563 เครือข่ายรอยเท้านิเวศโลก (Global Footprint Network) ได้บันทึกให้วันที่ 22 สิงหาคม 2563 เป็นวันที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินขีดจำกัดที่โลกสามารถฟื้นฟูหรือสร้างขึ้นใหม่ (Regenerate) หรือที่เรียกว่า วันเกินกำลังโลก (Earth Overshoot Day: EOD) ในมุมมองทางเศรษฐกิจ ถือว่า วันถัดจาก EOD สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ใช้สอยจะมีมูลค่าติดลบหรือขาดดุลไปจนสิ้นสุดปี
ในปี 2564 หากประชากรโลกใช้ชีวิตในแบบที่ไทยเป็นอยู่ วันเกินกำลังโลก จะขยับขึ้นมาเป็นวันที่ 15 สิงหาคม 2564 หมายความว่า คนไทยมีการใช้ทรัพยากรเกินกำลังที่โลกจะรองรับได้ ในอัตราเร่งที่สูงกว่าประชากรโลก
ภาคธุรกิจที่ประกาศว่า จะดำเนินธุรกิจโดยนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาใช้ หรือการลดขยะและของเสียให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) เพื่อให้ได้ชื่อว่าเป็นองค์กรคาร์บอนต่ำ หรือมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutral) นั้น ไม่เพียงพออีกต่อไป.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงานแถลง “ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” และการเสวนาเรื่อง Post-COVID Strategies: From ‘Recovery’ to ‘Resilience’ ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สี่แยกปทุมวัน ถนนพระราม 1 (รายละเอียด)
• กำหนดการ
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เอกสารในช่วงการนำเสนอทิศทาง CSR ปี 2564
• เอกสารในช่วงเสวนา กลยุทธ์หลังโควิด: จาก ‘ฟื้นฟู’ สู่ ‘พร้อมผัน’
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
• | 6 ทิศทาง CSR ปี 2564 (กรุงเทพธุรกิจ) |
• | ไทยพัฒน์ แถลงทิศทาง CSR ปี 64.. (ผู้จัดการออนไลน์) |
• | ไทยพัฒน์ เผย 6 ทิศทาง CSR ปี 2564 (SD Perspectives) |
• | 6 ทิศทาง CSR ปี’64 “ไทยพัฒน์” แนะสร้างองค์กรพร้อมผัน.. (ประชาชาติธุรกิจ) |
สถาบันไทยพัฒน์ ทำการประมวลทิศทางความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาความยั่งยืนของกิจการ ประจำปี 2564 ภายใต้รายงานที่มีชื่อว่า “6 ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” ความหนา 34 หน้า สำหรับหน่วยงานและองค์กรธุรกิจในการใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแนวทางการดำเนินงานในปี 2564 และใช้วางกลยุทธ์การปรับตัวสู่ภาวะปกติใหม่ (New Normal) หลังผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำหนังสือบทบาทของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 “Business Recovery Playbook on COVID-19” ความหนา 134 หน้าโดยรวบรวมกรณีตัวอย่างจากการดำเนินงานของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 35 แห่ง ประมวลเป็นรูปแบบกิจกรรมใน 3 ด้าน สำหรับใช้เป็นแนวปฏิบัติสำหรับองค์กรในช่วงการฟื้นตัว (Recovery) จากสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้น ช่วงต้นปี 2563 ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจ ผลกระทบของสถานการณ์โควิด มิได้ส่งผลเพียงเรื่องสุขภาพของผู้คนในสังคม แต่ยังได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังภาคเศรษฐกิจ ที่เป็นเรื่องปากท้อง กระทบวิถีทำมาหากินของผู้ประกอบการ ตั้งแต่รายใหญ่จนถึงรายย่อย ทั่วทุกหัวระแหง การระบาดระลอกใหม่ ที่กลับมาในช่วงท้ายปี 2563 ทอดยาวข้ามเข้าสู่ปี 2564 กลายเป็นสถานการณ์ที่ขวางกั้นการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กำลังจะเริ่มคลี่คลาย.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะหน่วยงานที่มุ่งเน้นงานส่งเสริมความยั่งยืนของกิจการ และขับเคลื่อนเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการร่วมกับภาคเอกชนมาอย่างต่อเนื่อง ได้ทำการประมวลและจัดทำรายงานสถานภาพความยั่งยืนของกิจการ ปี 2563 หรือ “The State of Corporate Sustainability in 2020” จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลความยั่งยืนที่เปิดเผยโดยองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน จำนวน 115 แห่ง (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำเอกสาร Investor Response Guidance on COVID-19 เผยแพร่ 7 แนวทางที่ผู้ลงทุนควรลงมือดำเนินการโดยทันที เพื่อดูแลจัดการประเด็น ESG ในระยะสั้น และปรับวางแนวการฟื้นตัวที่ให้ผลลัพธ์ทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืนในระยะยาว.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19 |
• | เอกสาร Investor Response Guidance on COVID-19 |
• | เอกสาร Investor Stewardship Checklist on COVID-19 |
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
• | 7 แนวทางผู้ลงทุน รับมือสถานการณ์โควิด-19 (1) (จบ) (ประชาชาติธุรกิจ) |
• | Checklist 7 แนวทางรับมือของผู้ลงทุนต่อ.. COVID19 (SD Perspectives) |
• | 15 Checklists แนวปฏิบัติผู้ลงทุนในสถานการณ์โควิด (กรุงเทพธุรกิจ) |
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19.. (สำนักข่าวไทยไทม์นิวส์) |
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19 (กระแสหุ้นออนไลน์) |
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19.. (MBA Magazine) |
• | 7 แนวทางรับมือของผู้ลงทุน.. (ผู้จัดการออนไลน์) |
• | 7 บทบาทผู้ลงทุนในยุคโควิดระบาด (กรุงเทพธุรกิจ) |
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทุกทวีปทั่วโลก มีรายงานการพบผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ และการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ป่วยรวมถึงผู้เสียชีวิต ซึ่งบ่งชี้ถึงการแพร่กระจายของเชื้อในวงกว้าง.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
• | ไทยพัฒน์ แนะธุรกิจรับมือ COVID-19 |
• | เอกสาร Business Response Guidance on COVID-19 |
• | เอกสาร Corporate Health Check Form on COVID-19 |
• | ตัวอย่างรายงานการตรวจสุขภาพองค์กรต่อการรับมือโรคโควิด 19 |
☑ บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) | |
☑ บมจ. ซีลิค คอร์พ | |
☑ บมจ. เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น | |
ผลการตรวจสุขภาพองค์กรมี 3 ระดับ คือ ผ่าน (Passed) ดี (Good) และดีเยี่ยม (Excellent) |
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
• | 15 แนวทางรับมือ COVID-19 สำหรับภาคธุรกิจ (Thai PBS) |
• | ส่อง 15 เช็คลิสต์ ธุรกิจ รับมือ COVID-19 (กรุงเทพธุรกิจ) |
• | ไทยพัฒน์ สู้โควิด-19 มอบเอกสาร.. รับมือไวรัสร้าย (ประชาชาติธุรกิจ) |
• | 15 Checklists ของธุรกิจเพื่อเตรียมรับมือโควิด-19 (Smart SME) |
• | ไทยพัฒน์ แนะธุรกิจรับมือ COVID-19 (สยามรัฐออนไลน์) |
• | Checklist สิ่งที่องค์กรธุรกิจดำเนินการ.. ในช่วง COVID19 (SD Perspectives) |
• | ไทยพัฒน์ แนะธุรกิจรับมือ COVID-19 (ผู้จัดการออนไลน์) |
การแพร่ระบาดของไวรัส “โควิด-19” เป็นอีกบทพิสูจน์ความสามารถในการบริหารจัดการขององค์กร ว่าจะนำพาผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อยู่รอดปลอดภัย และรักษาการเติบโตไว้ได้อย่างไร.. (อ่านต่อ)
• ‘ESG’ ในภาวะวิกฤต ‘โควิด-19’
• "COVID-19" กับปรากฏการณ์ 'ESG'
สถาบันไทยพัฒน์ ได้รับการรับรองจากองค์การแห่งความริเริ่มว่าด้วยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) ให้เป็น GRI Certified Training Partner นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 และเข้าเป็น GRI Data Partner ในปี พ.ศ.2559
• | ไทยพัฒน์เข้าเป็นหุ้นส่วนฝึกอบรมที่ได้รับการรับรองจาก GRI |
• | Thaipat Institute becomes the GRI Training Partner in Thailand |
• | รายละเอียดหลักสูตรฝึกอบรม |
สถาบันไทยพัฒน์ ได้เปิดช่องทางการติดต่อสื่อสารผ่าน LINE@ สำหรับผู้ที่สนใจสอบถามข้อมูล หรือต้องการรับข่าวสาร และติดตามความเคลื่อนไหวในงานด้านต่างๆ อาทิ หลักสูตรด้านความยั่งยืน บริการใน Sustainability Store งานบริการให้ความเชื่อมั่น (Assurance Service) ต่อรายงานแห่งความยั่งยืน ตามมาตรฐานสากล ฯลฯ
ท่านสามารถเพิ่มเพื่อนโดยระบุชื่อบัญชี LINE ID: @thaipat หรือคลิกที่ปุ่ม Add Friends | ![]() |